วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ จัดกิจกรรมเนื่องในวันพ่อของสหราชอาณาจักร
วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ ได้จัดกิจกรรมเนื่องในวันพ่อของสหราชอาณาจักร
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อานิสงส์ทำบุญทอดกฐิน
นายติณบาลทำงานให้เศรษฐีด้วยความขยันขันแข็ง วันหนึ่ง บุญเก่ามาตักเตือน ทำให้คิดได้ว่า "ตัวเรายากจนเช่นนี้ ก็เพราะไม่เคยทำบุญไว้ในชาติปางก่อน ชาตินี้จึงต้องมาเป็น คนรับใช้ แม้สมบัติติดตัวสักนิดก็ไม่มี ทั้งยังไร้ญาติขาดมิตรที่จะคอยช่วยเหลือ"
บรรพชาสามเณรล้านรูปสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองยาวนาน
เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่าปัญหาเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบันมีสาเหตุสำคัญมาจากความอ่อนแอในเชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตแบบไทย อันเนื่องมาจากสถาบันครอบครัวและลักษณะสังคมไทยเปลี่ยนไปมาก พ่อแม่ไม่มีเวลาสั่งสอนอบรมลูก มีเวลาอยู่กับลูกน้อยลง ทำให้จิตใจของเยาวชนจำนวนไม่น้อยเกิดความสับสนวุ่นวาย เหงา และว้าเหว่ จึงหันไปติดเพื่อน พลอยทำให้ตัดสินใจอะไรผิดพลาดได้ง่ายนั่นคือความสัมพันธ์ในแง่ของความเป็นบ้าน
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
เหตุการณ์สำคัญในวันตั้งมโนปณิธานว่าจะบวชตลอดชีวิต
ย้อนไป ๑๑๒ ปี มีเด็กหนุ่มวัย ๑๙ ปี ซึ่งต่อมา คือ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กำลังทำหน้าที่เป็นพ่อค้าข้าวแทนบิดาที่เสียไปตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี และได้เป็นหัวแรงสำคัญของครอบครัว ได้ตั้งจิตอธิษฐานขอบวชตลอดชีวิตทำให้เป็นจุดหักเหให้ท่านเลือกเส้นทางเดินชีวิตที่ต่างจากคนทั่วไป
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
ทำไมต้องหล่อรูปเหมือนเป็นทองคำแท้ ในเมื่อเศรษฐกิจไม่ดี? การหล่อพระด้วย “ทองคำ” เป็นเรื่องปกติหรือไม่? ทำไมนิยมนำทองคำหรือรัตนชาติแพง ๆ มาสร้างพระหรือเจดีย์ ถือเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ? ทำไมต้องหล่อหลวงปู่องค์ที่ ๘ ในเมื่อหล่อมาตั้ง ๗ องค์แล้ว?
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”
พลิกวิกฤต..เพราะคิดบวช
ในชีวิตของมนุษย์นั้น ช่วงเวลาที่กล่าวได้ว่า เป็นวิฤตที่สุดของชีวิต ก็คือ ช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต นั่นคือ ช่วงเวลาที่เราต้องเผชิญกับความตาย ซึ่งทุกท่าน ๆ ทราบดีอยู่แล้วว่า ทุกท่านนั้นต้องเผชิญกับช่วงเวลาวิกฤตนี้อย่างแน่นอน